สมุนไพร…ต้านอนุมูลอิสระ
ภาพประกอบจาก www.popcornfor2.com
อนุมูลอิสระ (Free radical) คือ โมเลกุลหรืออะตอมที่ไม่เสถียรเนื่องจากขาดอิเล็กตรอน ในกรณีที่ร่างกายมีการสูญเสียอิเล็กตรอนจากการถูกอนุมูลอิสระแย่งจับ จะทำให้โมเลกุลของเซลล์ในร่างกายนั้น เกิดความไม่เสถียร ขาดความสมดุล ทำให้เซลล์เสียหาย (ข้อมูลจาก dna.kps.ku.ac.th) ร่างกายเกิดการเสื่อมถอย เกิดริ้วรอย และสามารถนำไปสู่โรคบางโรคได้ เช่น โรคมะเร็ง โรคหัวใจและหลอดเลือด ต้อกระจก และโรคอื่น ๆ โดยร่างกายได้อนุมูลอิสระจากทั้งภายนอกและภายใน ตัวอย่างจากภายนอก ได้แก่ จากมลพิษในอากาศ โอโซน ไนตรัสออกไซด์ ไนโตรเจนไดออกไซด์ ฝุ่น ควันบุหรี่ อาหารที่มีกรดไขมันไม่อิ่มตัว แสงแดด ความร้อน รังสีแกมมา และจากภายในร่างกาย ได้แก่ อนุมูลอิสระที่ร่างกายสร้างขึ้น ความเครียด การพักผ่อนไม่เพียงพอ ไม่ออกกำลังกาย การขาดวิตามินและเกลือแร่บางชนิด (www.scimatch.org) ทั้งนี้ สารต้านอนุมูลอิสระ (antioxidant) จะเป็นสารประกอบที่สามารถป้องกันหรือชะลอการเกิดกระบวนการออกซิเดชั่น ส่งผลให้เซลล์เกิดความไม่เสถียร ขาดความสมดุล และเสียหายได้
ปัจจุบันพบว่า สมุนไพรไทยบางชนิดมีบทบาทในการต้านอนุมูลอิสระ โดยจะขอแนะนำให้เพื่อน ๆ รู้จัก 5 สมุนไพร ดังนี้
หญ้าหวาน ซึ่งมีค่าดัชนีต้านอนุมูลอิสระสูง โดยพบหญ้าหวานมีสารประกอบฟีนอลิคค่อนข้างสูงถึง 59 มิลลิกรัม ส่วนปริมาณเบต้า-แคโรทีน 5.10 มิลลิกรัม แซนโทฟิลล์ 5.30 มิลลิกรัม และวิตามินซี 16.50 มิลลิกรัม มีสรรพคุณให้รสหวานมากกว่าน้ำตาลทราย 250 - 300 เท่า และไม่ให้พลังงานทำให้ไม่อ้วน
ใบหม่อน ซึ่งค่าดัชนีต้านอนุมูลอิสระสูง มีการนำมาต้มดื่มเป็นชา ช่วยลดระดับน้ำตาลในเลือด ลดความดันโลหิต ขับปัสสาวะ มีสรรพคุณแก้ไอ และบรรเทาอาการปวดศีรษะได้ อีกทั้ง ส่วนผลหม่อนใช้รับประทานแก้ลมวิงเวียน หน้ามืด มีสรรพคุณเป็นยาระบาย บำรุงไต และทำให้นอนหลับดี เป็นต้น
ไพล เป็นสมุนไพรที่มีคุณค่าการต้านอนุมูลอิสระสูง ในตำรายาแผนโบราณมีการใช้เหง้าที่แก่จัดมาเป็นส่วนประกอบในตำรับยารักษาโรคหืด นอกจากนี้ยังมีสรรพคุณ แก้อาการฟกช้ำ เคล็ดขัดยอก ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ แก้เหน็บชา ขับลม รักษาอาการท้องเดิน และขับประจำเดือน
ฟ้าทะลายโจร เป็นสมุนไพรที่มีค่าการต้านอนุมูลอิสระปานกลาง สามารถทานได้ทั้งสดและแห้ง มีสรรพคุณรักษาโรคบิดชนิดติดเชื้อ บรรเทาอาการหวัด ท้องเดิน ทางเดินอาหารอักเสบ ปอดอักเสบ ส่วนใบมีสรรพคุณสมานแผล แผลไฟไหม้ แผลน้ำร้อนลวก จะช่วยให้แผลหายเร็วขึ้น
กวาวเครือขาว เป็นสมุนไพรอีกชนิดที่พบว่ามีค่าการต้านอนุมูลอิสระสูง มีสรรพคุณช่วยบำรุงร่างกาย โดยใช้เป็นส่วนประกอบร่วมกับสมุนไพรอื่นๆในตำรับยาบำรุงร่างกาย หรือใช้เป็นยาสำหรับสตรีที่ประจำเดือนมาไม่ปกติ (ข้อมูลจาก kroobannok.com)
นอกจากนี้ ยังมีสมุนไพรไทยที่มีค่าการต้านอนุมูลอิสระสูงอีก เช่น ชุมเห็ดเทศ พญาปล้องทอง มะระขี้นก รางจืด และเถาวัลย์เปรียง เป็นต้น ซึ่งจริง ๆ มีมากกว่านี้อีกหลายตัว ซึ่งเป็นอีกทางเลือกสำหรับผู้ที่สนใจเพิ่มเติมสารต้านอนุมูลอิสระให้กับร่างกาย
น้ำมันพืชตราผึ้ง ปลอดไขมันทรานส์
“ผึ้ง” กรอบอร่อยได้คุณค่า แบรนด์ของคนรุ่นใหม่
Cooking By Bee
กลุ่มปาล์มธรรมชาติ
ผู้บุกเบิกสร้างรากฐานที่แข็งแกร่งให้กับตลาดน้ำมันปาล์มของไทยในระดับภูมิภาค และระดับโลก ที่มุ่งมั่นยกระดับตลาดน้ำมันปาล์มในประเทศด้วยการนำนวัตกรรมทางเทคโนโลยีที่ทันสมัยเข้ามาพัฒนากระบวนการผลิต โดยคำนึงถึงการรักษาสมดุลธรรมชาติให้กับโลก ควบคู่ไปกับการสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ที่ดีที่สุดและคงคุณค่าทางโภชนาการจากธรรมชาติสูงสุดให้กับลูกค้าทั้งกลุ่มธุรกิจและผู้บริโภคทั่วไป
HEALTH
- เรื่องต้องรู้…คาร์โบไฮเดรตชนิดดีและไม่ดี
- อาหารสุขภาพผิว
- อาหารแนวย้อนยุคแบบผึ้ง
- กินอาหารก่อนออกกำลังกาย ดีหรือไม่
- อาหารช่วยผิวขาว กระจ่างใส มีสุขภาพดี
- อาหารต้านฝนที่คนภูมิต้านทานต่ำ ควรทาน
- 6 อาหารต้านหวัด ช่วงหน้าฝน
- 10 กิจกรรมแก้เบื่อช่วงโควิด
- งานอดิเรกสำหรับหน้าฝน ที่ทุกคนทำได้
- วิธีดูแลสุขภาพ เตรียมเข้าหน้าฝน
- ถ้าโควิดจบแล้ว เราจะทำอะไรดี
- 3 สร้าง 2 ใช้ ดูแลสุขภาพจิตช่วงโควิด-19
- Covid-19 ไม่ทนความร้อน! WHO แนะนำกินอาหารปรุงสุกลดความเสี่ยง
- ผ่านวิกฤตโควิด ด้วยกิจกรรมสานสัมพันธ์ในครอบครัว
- อยู่บ้านสู้โควิด ควรทำอะไรบ้าง
- ภาวะโลกร้อนกับอาหารที่กิน
- ออกกำลังกายอยู่บ้านง่าย ๆ ไม่ต้องเข้าฟิตเนส
- Keto diet เทรนด์อาหารลดคาร์บเพื่อลดหุ่น
- การล้างมือให้ถูกวิธี ช่วยลดความเสี่ยงติดไวรัสโคโรนา
- โซนการเต้นของหัวใจ กับการออกกำลังกาย
- อาการที่บอกว่า ออกกำลังกายไม่ได้ผล
- รู้แบบนี้แล้ว ออกกำลังกายดีกว่า
- อาหารต้านโรคช่วงหน้าฝน
- มุมมองโรคฮิตหน้าฝน จากแพทย์แผนไทย
- เมนูอาหารหน้าฝน คนภูมิต้านทานต่ำควรทาน
- ความแตกต่างระหว่างคาร์โบไฮเดรต ชนิดดีและไม่ดี
- ไดเอทอย่างไร เรียก “คาร์บต่ำ ไขมันสูง”
- เร่งเมตาบอลิซึมในร่างกาย… แบบง่าย ๆ
- สมุนไพร…ต้านอนุมูลอิสระ
- เทรนด์อาหาร 2019 สายกินต้องตามให้ทัน
- สุดยอดสมุนไพรจีน ที่ควรหามาทาน
- เคล็ดลับแพทย์แผนไทยโบราณ กินตามธาตุเพื่อร่างกายแข็งแรง
- วิธีเลือกซื้ออาหารริมถนนให้ปลอดภัยจากการปนเปื้อนฝุ่นพิษ
- เพราะอะไรน้ำมันปาล์มจึงเหมาะกับอาหารทอด ส่งต่อสุขภาพดีคู่ครัวยาวนานกว่า 12 ปี กับน้ำมันพืชตราผึ้ง
- ไขรหัส…ทำไมคนเราถึงปลื้มของทอดได้ง่ายกว่าอาหารประเภทอื่น
- คืนคริสมาสต์ แต่ละประเทศเขาทำอาหารอะไรกันบ้างนะ
- 5 สไตล์การจัดเลี้ยง เลือกแบบไหนให้เหมาะกับปาร์ตี้
- 4 เทคนิค รีโนเวทห้องครัว แบบง่าย ๆ สบายกระเป๋า
- 7 เทรนด์อาหารมาแรงแห่งปี 2018
- ปาล์มน้ำมันประโยชน์ที่มากกว่าการผลิตน้ำมัน
- สารพัดพร็อพเก๋ ๆ จากใบปาล์ม
- มิถุนายนนี้ อย. ห้ามใช้ไขมันทรานส์
- “กรดไลโนเลอิก” กรดไขมันที่ดีต่อใจ
- “น้ำมันปาล์ม” ไม่มีคอเลสเตอรอลนะจ๊ะ
- ในน้ำมันปาล์มมีอะไรบ้าง
- “น้ำมันปาล์ม” เกิดสารโพล่าร์น้อยสุด
- “น้ำมันปาล์ม” ปลอดไขมันทรานส์
- วิธีเลือกซื้อ เลือกใช้ “น้ำมันพืช” อย่างถูกต้อง
- “น้ำมันปาล์ม” ทางเลือกเพื่อสุขภาพ
- เบาหวาน…จัดการได้
- เรื่องง่าย ๆ เรื่องของเมนูไข่
- ไอเดียเจ๋ง!! ข้าวมันไก่ลดโลกร้อนห่อใบตองแทนกล่องโฟม
- ไขน้ำมันปาล์มเป็น ไม่เป็นอันตราย
- มองแบบวิทย์ พลิกชีวิตการกินอยู่
- 10 ปลาไทยราคาบ้าน ๆ โอเมก้า 3 สูงไม่แพ้แซลมอน
- สารโพลาร์คืออะไร? ทำไมคนรักสุขภาพถึงต้องระวัง
- น้ำมันพืชที่ผ่านกระบวนการ หรือ Processed vegetable oil คือ
- น้ำมันปาล์มไม่มีคอเลสเตอรอล …เรื่องจริงที่ต้องรู้ไว้
- ไขมันทรานส์…ภัยร้ายซ่อนรูป
- ทำไมต้องน้ำมันปาล์มตรา “ผึ้ง”